Design Thinking: Creative & Critical Problem Solving

 

Design Thinking คืออะไร?

Design Thinking เป็นกระบวนการคิดเชิงออกแบบที่เน้นการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ โดยมุ่งเน้นไปที่ผู้ใช้เป็นหลัก กระบวนการนี้ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน:

  1. Empathize: เข้าใจผู้ใช้และปัญหาของพวกเขา
  2. Define: ระบุปัญหาที่ชัดเจน
  3. Ideate: คิดหาวิธีแก้ปัญหาที่หลากหลาย
  4. Prototype: สร้างต้นแบบเพื่อทดสอบ
  5. Test: ทดสอบต้นแบบกับผู้ใช้และปรับปรุง

หลักการของ Design Thinking

กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)

สรุป  กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)

กระบวนการคิดเชิงออกแบบ คือ กระบวนการคิดเพื่อให้เกิดการพัฒนาแนวคิดและนวัตกรรมใหม่ ๆ สำหรับการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุด

 

กระบวนการของการคิดเชิงออกแบบ มี 5 ขั้นตอน

1.การทำความเข้าใจปัญหาอย่างลึกซึ้ง (Empathize) การทำความเข้าใจปัญหาที่เราพยายามแก้ไข โดยการสังเกตและมีส่วนร่วม

2.การระบุปัญหาและกรอบของปัญหา (Define) การนำข้อมูลทั้งหมดที่หาได้จากขั้นแรกมาวิเคราะห์และสังเคราะห์รวมกัน เพื่อตกผลึก

การปรับตัวของห้องสมุดในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง

สรุป การปรับตัวของห้องสมุดในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง 

 การสัมมนาความร่วมมือระหว่างห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ได้จัดขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.

Agility in Library การปรับ Mindset ของห้องสมุด ที่ทันต่อสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว

 

ห้องสมุดเป็นสถาบันทางวัฒนธรรมที่มีความสำคัญต่อสังคมมาอย่างยาวนาน แต่ในปัจจุบันโลกกำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เทคโนโลยีใหม่ ๆ เกิดขึ้นมากมาย พฤติกรรมการใช้สื่อของผู้คนก็เปลี่ยนไป ห้องสมุดจึงต้องปรับตัวให้ทันต่อสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้

การปรับ Mindset ของห้องสมุดเป็นสิ่งที่สำคัญ จะช่วยให้ห้องสมุดสามารถอยู่รอดและเติบโตได้ในอนาคต ต่อไปนี้เป็นแนวทางการปรับ Mindset ของห้องสมุด

Agile innovation:methodologies and outcomes

 

Agile innovation เป็นแนวทางในการพัฒนานวัตกรรมแบบยืดหยุ่นและรวดเร็ว โดยเน้นการทำงานเป็นระยะสั้นๆ (sprint) ที่สามารถส่งมอบคุณค่าให้กับลูกค้าได้อย่างต่อเนื่อง

Methodologies หรือวิธีการในการพัฒนานวัตกรรมแบบ Agile มีหลายวิธี เช่น

ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนสู่องค์กรดิจิทัลของห้องสมุด

 

ในยุคดิจิทัลที่เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของผู้คน ห้องสมุดในฐานะสถาบันการศึกษาและแหล่งเรียนรู้จึงต้องปรับเปลี่ยนตัวเองไปสู่การเป็นองค์กรดิจิทัล เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนสู่องค์กรดิจิทัลของห้องสมุด ประกอบด้วยปัจจัยสำคัญ ดังนี้

การเขียนรายงานการประชุม (สรุปจากการเข้าอบรม)

การเขียนรายงานการประชุม

การเขียนรายงานการประชุม คือ เป็นการบันทึกความคิดเห็นของผู้ที่มาประชุมและผู้ที่เข้าร่วมการประชุม ซึ่งเป็นการแสดงความคิดเห็นเพื่อนำไปสู่การลงมติของที่ประชุมเพื่อเป็นหลักฐานเอาไว้ 

วิธีการจดและเขียนรายงานการประชุม

1.จดรายละเอียดทุกคำพูดของกรรมการทุกคน คำต่อคำ กิริยาอาการ พร้อมด้วยมติ

2.จดย่อคำพูด เอาแต่ใจความที่เป็นประเด็นสำคัญอันนำไปสู่ข้อสรุป พร้อมด้วยมติ

3.จดสรุปหาสาระสำคัญของเรื่องที่พิจารณา ความเห็น เหตุผล และข้อสรุป

ข้าราชการสังกัดมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ที่เปลี่ยนสภาพเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยในกำกับ เมื่อเกษียณราชการจะได้รับเงินอะไรบ้าง? และเมื่อไหร่?

กรณีที่ 1 พนักงานมหาวิทยาลัยเปลี่ยนสภาพที่ไม่เป็นสมาชิก กบข.

     ข้าราชการที่เป็นสมาชิก กบข. เมื่อเปลี่ยนสถานภาพเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยแล้วไม่ประสงค์จะเป็นสมาชิก กบข.ต่อไป มีสิทธิได้รับบําเหน็จบํานาญตามพระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ พ.ศ.2539 และได้รับค่าจ้างพนักงาน มหาวิทยาลัยตั้งแต่วันที่เปลี่ยนสถานภาพ จะได้รับเงินอะไรบ้าง และได้รับเมื่อไร?

       1. เงินบำนาญ = (เงินเดือนเฉลยี่ 60 เดือนสุดท้าย x เวลา ราชการ(ปี) )/50

การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

เมื่อบุคลากรต้องการวัสดุอุปกรณ์มาใช้ในการปฏิบัติงาน บุคลากรสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สามารถแจ้งคำขอซื้อขอจ้างพัสดุได้ด้วยตนเอง สิ่งที่บุคลากรต้องเตรียม คือ ชื่อรายการพัสดุหรือวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องการใช้ จำนวน ราคาประมาณการ เวลาที่ต้องการใช้งาน รายนามคณะกรรมการต่าง ๆ ใช้สามารถดำเนินการแจ้งคำขอซื้อขอจ้างผ่านระบบ OAR Smart Office งานพัสดุ สำนักวิทยบริการ https://secret.oas.psu.ac.th/oarsmart/ โดยงานพัสดุจะดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามขั้นตอน ดังนี​​​​​​​