การย้าย DataDir MyQL ใน Ubuntu 16.04.1 LTS
ใน Ubuntu 16.04.1 LTS จะมี bug เกี่ยวกับการย้าน DATADIR อยู่วิธีแก้ไขคือ
1. แก้ไขแฟ้ม/etc/mysql/mysql.conf.d/mysqld.cnf
[mysqld]
datadir = NEW Directory
2. ย้ายข้อมูลเดิมทั้งหมดไปวไ้ที่ใหม่
การใช้ WINDOWS API ใน C#
ตัวอย่างที่ใช้เป็นการตั้งค่าเวลาในเครื่อง
1. import Class ที่เกี่ยวข้อง
using System.Runtime.InteropServices;
การใช้ C# ติดต่อกับ ฐานข้อมูล
การติดต่อกับฐานข้อมูลในบทความนี้ใช้ ADODB ในการติดต่อ มี 5 ขั้นตอนคือ
1. import Class ที่เกี่ยวข้อง
using ADODB;
2. ประกาศตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
การ Backup MySQL
คำสั่งที่ใช้คือ
#mysqldump database_name -uusername -ppassword > database_name.sql
เพื่อความสพดวกในกรณีมีหลาย databsae ตจึงได้เขียนโปรแกรมขึ้นดังนี้
สร้างแฟ้มชื้อ mysql.php มีรายละเอียดดังนี้
mysqli
<?php
$mysqli = @new mysqli('server','user','password');
$mysqli->set_charset('utf8');
คำสั่งพื้นฐานของ MySQL ที่ใช้บ่อย
1. SELECT
SELECT FILED1,FILES2... FROM TABLE [WHERE CAUSE]
เช่น
SELECT name,sname,email,tel from member where user='test'
หรือ
SELECT * from member;
* หมายถึงทุก field ที่มี
2. INSERT
INSERT TABLE_NAME(FILES_LIST) VALUES('field1','filed2','filed3', ...);
เช่น
การใช้ PHP ติดต่อกับ MySQL ด้วย MySQLi
1. สร้างการเชื่อต่อไปยัง Server
$mysqli = @new mysqli($host,$user,$password,$db);
$mysqli->set_charset($charset);
$host = Server ที่ต้องการเชื่อต่อ
$user = ีusername
$password = password
$db = ชื่อฐานข้อมูลที่ต้องการใช้
$charset = รหัสตัวอักษรที่ใช้ ถ้าไม่ได้ set จะใช้ค่า default ของ php หรือ apache
2. เมื่อได้สร้าง connect ขึ้นมา ขั้นตอนต่อมาคือส่ง SQL COmmand เข้าไป
การติดตั้ง nagios บน gentoo
การติดตั้ง nagios บน gentoo
# USE="radius nagios-dns nagios-ntp nagios-ping nagios-ssh" emerge -av nagios-plugins nagios
แฟ้ม config ของ nagios จะอยู่ที่ /etc/nagios/
plugin ของ nagios จะอยู่ที่ /usr/lib/nagios/plugins/ (ตัวแปร $USER$ ใน nagios.cfg)
แก้ไขแฟ้ม config (/etc/nagios/nagios.cfg)
ตัวแรก enable_flap_detection=1
ปฐมนิเทศพนักงานใหม่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจำปี ๒๕๕๘
เมื่อวันที่ ๒๐-๒๒ เมษายน ๒๕๕๙ ผมได้มีโอกาสเข้าร่าวกิจกรรมปฐมนิเทศพนักงานใหม่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจำปี ๒๕๕๘
แม้หากนับอายุการทำงานที่สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี แล้วนั้น ผมมีอายุการทำงานประมาณ ๕ ปี และมีโอกาสบรรจุในตำแหน่งพนักงานมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๘ ในปีนี้จึงมีโอกาสได้เข้าปฐมนิเทศพนักงานใหม่
การปฐมนิเทศในช่วงแรกเป็นการปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นสงขลานครินทร์ ให้มุมมองแนวคิดในการทำงานและการใช้ชีวิต
การดูแลสุขภาพตามแนวทางของ อาจารย์ไกร มาศพิมล และ นพ.บุญชัย อิศราพิสิษฐ์
บล็อกนี้ต้องบอกกล่าวกันก่อนว่า เป็นการเขียนที่เก็บไว้ให้ตัวเองอ่านเป็นสำคัญ แต่หากจะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านบ้างก็ยินดีครับ
ความจริงการรับฟังเรื่องนี้ เกิดจากพี่บ่าว (ลูกพี่ลูกน้อง) ส่งลิงค์วิดีโอใน youtube ตัวหนึ่งมาให้ฟัง โดยโฆษณาชวนเชื่อว่า ดีมาก
ผมเองก็เป็นคนเชื่อคนง่ายอยู่แล้วเลยเปิดฟังอย่างไม่ลังเล
ข้อคิดยามรู้สึกเหนื่อย จากการฟัง ศาสตราจารย์ระพี สาคริก
ผมมีโอกาสได้ฟังเทปบันทึกการบรรยายของ ศาสตราจารย์ระพี สาคริก เรื่อง ครูกับการเรียนรู้ไม่จบ เนื่องในโอกาสครบรอบ 30 ปี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และมีโอกาสได้ดูวิดีโออื่นของท่านในอินเทอร์เน็ต ได้ข้อคิดในการทำงานหลายประการ ปัจจุบันท่านอายุ 94 ปี แต่ยังทำงานตั้งแต่ 9 โมง ถึง 5 ทุ่ม เป็นอย่างน้อย อาทิตย์ละ 7 วัน เป็นแบบอย่างการทำงานที่น่าน้อมนำมาปฏิบัติมากเลยครับ