จริยธรรมกับการเผยแพร่ผลงานวิจัย
ผมมีโอกาสฟังบรรยาย "จริยธรรมกับการเผยแพร่ผลงานวิจัย" โดย นพ.กิตติศักดิ์ กุลวิชิต คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2559 ณ อาคาร LRC มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
ผมมีโอกาสฟังบรรยาย "จริยธรรมกับการเผยแพร่ผลงานวิจัย" โดย นพ.กิตติศักดิ์ กุลวิชิต คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2559 ณ อาคาร LRC มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
หลายท่านคงเคยชินกับการใช้ Adobe Acrobat Pro ในการแก้ไข เพิ่ม ลบ หน้าในไฟล์ PDF ผมเองก็เช่นกัน แต่บล็อกนี้นอกจากเป็นการบันทึกความรู้แล้ว ยังเป็นการบันทึกความโง่ของตนเองไว้ด้วย สืบเนื่องจากมีอาจารย์ 2-3 ท่าน ถามผมว่าต้องการแก้ไขข้อความในไฟล์ PDF ทำได้อย่างไร ผมตอบด้วยความมั่นใจอย่างที่สุดว่า ทำไม่ได้ แล้ววันหนึ่งวันที่ความโง่ของตนเองปรากฏ คือ วันที่อาจารย์คม (นามสมมติ) มาขอให้ติดตั้งโปรแกรม Adobe Acrobat Pro รุ่งขึ้นอีกวันอาจารย์คมก็มาแนะนำวิธีการแก้ไขข้อความในไฟล์ PDF ให้ผมได้หายโง่ ซึ่งมีวิธีการ ดังภาพ
บล็อกนี้ต้องบอกกล่าวกันก่อนว่า เป็นการเขียนที่เก็บไว้ให้ตัวเองอ่านเป็นสำคัญ แต่หากจะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านบ้างก็ยินดีครับ
ความจริงการรับฟังเรื่องนี้ เกิดจากพี่บ่าว (ลูกพี่ลูกน้อง) ส่งลิงค์วิดีโอใน youtube ตัวหนึ่งมาให้ฟัง โดยโฆษณาชวนเชื่อว่า ดีมาก
ผมเองก็เป็นคนเชื่อคนง่ายอยู่แล้วเลยเปิดฟังอย่างไม่ลังเล
ผมมีโอกาสได้ฟังเทปบันทึกการบรรยายของ ศาสตราจารย์ระพี สาคริก เรื่อง ครูกับการเรียนรู้ไม่จบ เนื่องในโอกาสครบรอบ 30 ปี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และมีโอกาสได้ดูวิดีโออื่นของท่านในอินเทอร์เน็ต ได้ข้อคิดในการทำงานหลายประการ ปัจจุบันท่านอายุ 94 ปี แต่ยังทำงานตั้งแต่ 9 โมง ถึง 5 ทุ่ม เป็นอย่างน้อย อาทิตย์ละ 7 วัน เป็นแบบอย่างการทำงานที่น่าน้อมนำมาปฏิบัติมากเลยครับ
เมื่อพูดถึงการเขียนบันทึกความรู้ หลายคนบอกว่าไม่รู้จะเขียนอะไร ไม่มีอะไรจะเขียน ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น หรือเพราะยังไม่เข้าใจว่า ความรู้ คืออะไร
ราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายของคำว่า ความรู้ คือ สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ ความเข้าใจ หรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ (ที่มา: http://www.royin.go.th/dictionary)
เนื้อหานี้เกิดจากนักศึกษาปริญญาเอกโทรมาสอบถามเรื่องการจัดทำวิทยานิพนธ์รูปแบบใหม่ ซึ่งมีลักษณะการพิมพ์ 2 หน้าหรือพิมพ์หน้า-หลังนั่นเอง โดยที่มีระยะขอบกระดาษด้านบนและด้านใน 1.5 นิ้ว ด้านล่างและด้านนอก 1 นิ้ว หากเป็นการตั้งค่าตามปกติเมื่อพิมพ์ออกมาจะขอบกระดาษด้านนอก (หน้า-หลัง) จะไม่ตรงกัน ซึ่งนักศึกษาปริญญาเอกบอกว่าไม่อยากให้ตัวเล่มออกมาดูพิการแบบนั้น
เมื่อนวันที่ 23 กรกฎาคม 2558 สำนักวิทยบริการ ได้จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ KM ตอน เปิดใจ วัยเก๋า (พี่บูรณ์ พี่อร) ขึ้นเพื่อเป็นการถ่ายถอดแนวคิด วิธีการทำงาน การบริหารงาน และการบริหารคน ซึ่งบุคลากรวัยเก๋าทั้งสองท่านดำรงตำแหน่งหัวหน้างานทั้งสองท่าน กล่าวคือ พี่บูรณ์ (สมบูรณ์ ห่านรัตนสกุล) เป็นหัวหน้าฝ่ายหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ และ พี่อร (อรศิริ ผลกล้า
สำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดอบรม "ข้อควรระวังในการตีพิมพ์" เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2558 ณ ศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้
วิทยากร คือ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ยง ภู่วรวรรณ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จากการเข้าร่วมโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ Creative & Innovation Inspiration วันที่ 16,17 มีนาคม 2558 ณ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
วิทยากรโดย ดร.วีรินยาอร เหลืองบริบูรณ์ จากบริษัท น้ำตาลมิตรผล จำกัด