การสร้างนวัตกรรมเพื่อการให้บริการในศตวรรษที่ 21 "Staff-less Library"

สรุปการอบรมการสร้างนวัตกรรมเพื่อการให้บริการในศตวรรษที่ 21 "Staff-less Library" 

การเปลี่ยนแปลงหลักที่กระทบกับห้องสมุด

  • จำนวนนักศึกษา ทำให้รายรับลดลง
  • รายจ่ายเพิ่มขึ้น

ผลที่ตามมาคือ

  • ลดรายจ่าย
  • ลดขนาดองค์กร/ลดคน

Staff-les -Library คือทางออกหนึ่งของห้องสมุด

ก่อนเริ่มโครงการ Staff-les –Libraryเราต้อคำนึงถึง

  • วัตถุประสงค์การให้บริการ  Staff-les- Library
  • วิเคราะห์พฤติกรรมผู้ใช้บริการ  เช่น อ่านหนังสือเดี่ยว กลุ่ม เด็กหรือผู้ใหญ่ ทำงานเป็นกลุ่ม Print งาน ยืม/ไม่ยืมหนังสือคืนหนังสือช่วงเวลาเข้าออก
  • ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นว่ายอมรับได้ เช่น หนังสือหาย วัสดุครุภัณฑ์ชำรด ค่าน้ำค่าไฟเพิ่มขึ้น

หรือยอมรับไม่ได้ เช่น เกิดอัคคีภัย การกระทำที่ไม่เหมาะสมระหว่างผู้ใช้บริการด้วยกัน

  • พื้นที่ในการให้บริการ ใช้บางส่วน เช่น เฉพาะชัน  เฉพาะ Collection หรือทั้งหมด เช่น ทั้งอาคาร ทั้งหห้องสมุด
  • ความพร้อมในการดำเนินการ ทำได้ทันทีหรือต้องรองบประมาณ

Staff-less Library ต้องกำหนดขอบเขตของ Staff ที่จะให้ระบบทำงานแทน

ระบบการ Authen ที่เชื่อมโยงกันทุกจุดในระหว่างที่เข้าใช้บริการ ตั้งแต่ Gate จนถึง Check-in/Check-out

เทคโนโลยีที่จะเอามาใช้สร้าง Staff-less Library มีดังนี้

  • การยืนยันตัวตน เช่น RFID Bio Matric
  • การตรวจจับ เช่น Infrared Ultrasonic
  • การแจ้งเตือนแบบ Real-time เช่น  SMS put notification PA.
  • การสืบค้นการเข้าถงการบริการแบบ Self-Services เช่น Self-Check BookDrop
  • การบริหารจัดการ เช่น การจอง การเข้าใช้งาน การยืม-น การให้คำแนะนำ
  • การรักษาความปลอดภัย เช่น CCTV Fire Alarm ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
  • ระบบนำทาง

 

 

Rating

Average: 5 (1 vote)