การสร้างนวัตกรรมเพื่อการให้บริการในศตวรรษที่ 21 "Staff-less Library"
สรุปการอบรมการสร้างนวัตกรรมเพื่อการให้บริการในศตวรรษที่
สรุปการอบรมการสร้างนวัตกรรมเพื่อการให้บริการในศตวรรษที่
การใช้งาน
การเขียนหนังสือขอตำแหน่งทางวิชาการ/หนังสือตำราวิชาการ ติดลิขสิทธิ์หรือไม่ ?
ยังคงเป็นคำถามที่คลุมเครือ ภาพประกอบที่เราเอามาใช้ในการจัดทำหนังสือ หรือสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ รูปที่เราเซฟมาจากอินเทอร์เน็ตมีเจ้าของทุกรูปคะซึ่งถ้าหากเรานำมาใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต ไม่ว่าจะเป็นเชิงพาณิชย์หรือไม่ก็ตาม ก็ถือว่าผิดกฎหมายเช่นกัน หากเจ้าของภาพไม่อนุญาต
ในการตรวจสอบลิขสิทธิ์รูปเพื่อความมั่นใจ ว่าใครเป็นเจ้าของสิทธิ์มีวิธีตรวจสอบดังนี้
1. เตรียมรูปภาพที่ต้องการตรวจสอบลิขสิทธิ์ (ใช้รูปภาพเพื่อเป็นตัวอย่างในการให้ความรู้)
1. เข้า web OneDrive https://emailpsuac-my.sharepoint.com
2. คลิกที่รูปฟันเฟืองด้านขวา เลือก การตั้งค่า OneDrive
3. เมนูด้านซ้ายคลิก การตั้งค่าเพิ่มเติม ด้านขวาคลิก เมตริกของที่เก็บข้อมูล
เทคนิคเอกสารที่จะการนำเข้าเพื่อลงนามอิเล็กทรอนิกส์ในระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
เมื่อรับวารสารจาการเตรียมตัวเล่มแล้ว ให้คัดเลือกบทความที่จะทำาดัชนีวารสาร อ่าน วิเคราะห์ เนื้อหา และกำหนดหัวเรื่อง ซึ่งจะต้องให้สอดคล้องกับเนื้อหาของบทความให้มากที่สุดอย่างน้อยบทความละ 3 หัวเรื่อง จากนั้นจึงพิจารณาเลือกหัวเรื่องจากคู่มือการให้หัวเรื่อง ปัจจุบันหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ใช้คู่มือหัว เรื่องซึ่งอยู่ในรูปฐานข้อมูล WINISIS และหัวเรื่องภาษาไทยออนไลน์ (Online Thai Subject Headings) คณะทำงานฝ่ายวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาเมื่อกำหนดหัวเรื่องที่จะนำมาทำดัชนีวารสารได้แล้วหลังจากนั้นให้กรอกข้อมูลทางบรรณานุกรมลงในแผ่นบันทึกข้อมูล (Worksheet) หรือสลิป ให้ครบถ
เลขเรียกหนังสือ
เลขเรียกหนังสือ Call Number คือสัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการค้นหาหนังสือบนชั้น เลขเรียกหนังสือจะประกอบด้วย เลขหมู่หนังสือ Classification Number และตัวอักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่งชาวไทย ถ้าเป็นหนังสือภาษาต่างประเทศใช้อักษรตัวแรกของนามสกุล ผู้แต่ง โดยอักษรตัวแรกใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ ผสมกับเลขกำกับอักษรผู้แต่ง และอักษรตัวแรกของชื่อเรื่องหรือชื่อเรื่องแบบฉบับที่เป็นรายการหลัก
การเพิ่มเลขลำดับในตาราง MS WORD
1. คลิกที่ cell แรกของตารางที่จะเพิ่มเลขลำดับ
2. กด ปุ่ม Shift ค้าง แล้วเลือก cell สุดท้ายของตารางที่จะเพิ่มเลขลำดับ
เดิมทีการสร้างบทความของหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ ด้วยระบบ ALIST เป็นการสร้างบทความจากโมดูล Cataloging แล้วเลือกเมนู Bibliographic Record ซึ่งสามารถทำได้ ให้บริการผ่านหน้า OPAC ได้ แต่ด้วยการสร้างบทความแบบนี้ ไม่ได้เป็นการผูกกับรายการวารสารที่ได้ถูกลงทะเบียนไว้ ทำให้เกิดความไม่ถูกต้องตามที่ระบบ ALITS ได้ออกแบบไว้ ครั้งนี้จึงได้อยากจะแนะนำการขั้นตอนการสร้างบทความที่ถูกต้องตามระบบ ALIST ตามรายละเอียดและเนื้อหาที่จะกล่าวต่อไปนี้