แนะนำเครื่องมือ Editor ที่ไม่ค่อยถูกใช้ในการเขียน KM (มีคลิปประกอบเนื้อหา)
**คำแนะนำ** ควรดูคลิปประกอบเนื้อหาเพื่อความเข้าใจ
1. เครื่องมือการทำหัวข้อหลักของเนื้อหา (Heading)
มีไว้สำหรับกำหนดหัวข้อของเนื้อหาแต่ละส่วน ตัวอย่าง
The standard chunk (Heading 3)
The standard chunk of Lorem Ipsum used since the 1500s is reproduced below for those interested. Sections 1.10.32 and 1.10.33 from "de Finibus Bonorum et Malorum" by Cicero are also reproduced in their exact original form, accompanied by English versions from the 1914 translation by H. Rackham.
2. เครื่องมือนำเสนอเนื้อหาแบบเรียงและไม่เรียงลำดับ (Bullet)
มีไว้สำหรับนำเสนอเนื้อหาแบบที่ต้องการเรียงและไม่เรียงลำดับ ตัวอย่าง
- รายการไม่เรียงลำดับ
- รายการไม่เรียงลำดับ
- รายการไม่เรียงลำดับ
- รายการไม่เรียงลำดับ
- รายการไม่เรียงลำดับ
- รายการเรียงลำดับ
- รายการเรียงลำดับ
- รายการเรียงลำดับ
3. เครื่องมือตาราง (Table)
มีไว้สำหรับนำเสนอเนื้อหาที่เป็นตัวเลข จำนวน หรือสถิติ ให้เข้าใจได้ง่าย ตัวอย่าง
ลำดับ | ชื่อ e-Service | การเข้าใช้ (ครั้ง) |
---|---|---|
1 | OPAC | 1035 |
2 | JFK Netflix | 125 |
3 | OAR One Search | 250 |
4 | JFK Shop Click | 85 |
5 | ขอ ISBN/ISSN | 25 |
4. เครื่องมือเส้นคั่นเนื้อหา (Horizon Line)
มีไว้สำหรับแบ่งส่วนเนื้อหาบทความที่อยู่ต่างประเด็นกัน ตัวอย่าง
5. เครื่องมือดูโค้ดเบื้องหลัง (Source)
มีไว้สำหรับดูคำสั่งเบื้องหลังของบทความ และเพื่อแทรก embed code ของบริการที่ต้องการให้มาแสดงผลในหน้าบทความของเรา เช่นต้องการนำคลิปวิดีโอจาก Youtube ขึ้นมาแสดงผล ตัวอย่าง
- Log in to post comments
- 45 views